วันเสาร์, มิถุนายน 24, 2560

ยุทธศาสตร์ชาติไทย ๔.๐ คงซื้อแหลกเพื่อเอามาไว้ 'จัดเก็บ' แหงๆ

ฮอจากอิตาลี ซื้อไว้ 'จัดเก็บ' 
ถึงคราทั้งนายกฯ และรองฯ สองหน่อออกมาจ้อ ยุทธศาสตร์ชาติ ถือเป็นเรื่องใหญ่มาก “เป็นเรื่องที่รัฐบาลทุกรัฐบาลต้องเดินไปตามนั้น” บลา บลา บลา

นายกฯ พูดยืดยาวราวกับสอนค่านิยม ๑๒ ประการเด็กประถม นั่นละนะเขาว่า คนที่เข้าใจอะไรยาก มักพูดมากเสียเอง ดูได้จาก ไทยรัฐ


ไม่เท่านั้นทั่นรองฯ มาช่วยซ้ำ “ถ้าฝ่าฝืน ทำผิด หรือขัดแย้ง...ถึงขั้นติดคุกติดตะราง ต้องถอดถอนกัน”

อันนี้ไม่ได้ขู่ แค่พูดให้ฟังว่าความจริงยุค คสช. ถ่างขายาว ๒๐ ปี จะเป็นอย่างไร แม้จะมีคนทักว่าพวกที่ออกกฏเกณฑ์เหล่านี้ คงไม่ได้มีชีวิตอยู่ดูผลงานกันก็ตาม

“ส่วนเรื่องปฏิรูปจะเป็นอีกเรื่องหนึ่ง จะไม่มีซูเปอร์บอร์ดเหมือนกับยุทธศาสตร์ชาติ” แต่จะตั้งกรรมการปฏิรูปขึ้น ๑๑ คณะ ๑๑ ด้าน คณะละสิบกว่าคนมานั่งคิดสาระตะแทน สปท. ที่จะต้องสลายตัวไป

“แผนปฏิรูปจะยืดหยุ่น คล่องตัวกว่า ปรับเปลี่ยนอะไรกันได้ง่ายกว่า แต่ยุทธศาสตร์ชาตินั้นปรับได้ แต่ปรับยาก”



เพิ่งรู้ว่าทั่นรองฯ พูดกวนตนเป็นเหมือนกัน “ปรับได้แต่ปรับยาก” ไม่ยักเขียนให้ไม่ต้องปรับ น่าจะง่ายกว่า

อันว่ากฎหมายกำหนดให้จัดทำยุทธศาสตร์ชาติที่ สนช. สภาลิ่วล้อโหวตผ่านสองวาระสุดท้ายรวดเดียวใน ๓ ชั่วโมงนั้น พวกคณะกรรมการที่ คสช. ตั้ง ๓๔ คน (๑๗ คนมาจากพวกแม่ทัพนายกอง อีก ๑๗ คน คสช. ขออนุญาตตั้งเอง) จะต้องรีดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษรภายใน ๑๒๐ วัน

แล้วเสนอ ครม. อนุมัติเสร็จส่งให้ สนช. โหวตอีกครั้ง ซึ่งตอนนี้วงการโต๊ดให้แต้มต่อ ๑๐ เอา ๑ ว่าจะต้องผ่านด้วยความเร็วสูงกว่าเดิม เพื่อชิง กินเนส เร็คคอร์ด

ต่อประเด็นที่มีกังขาว่าเวลาแค่สี่เดือนจะเขียนกันทันเหรอ มีคนกลัวว่าคณะกรรมการร่างยุทธศาสตร์จะสุกเอาเผากิน เรื่องนั้นอย่าห่วง

เพราะดูเหมือนว่า คสช. เขาเตรียมพิมพ์เขียว “เขียนกันไว้แล้ว ตั้งแต่ “ก่อนที่รัฐธรรมนูญและกฎหมายจะผ่านด้วยซ้ำ”

ดังที่ ไอลอว์ชี้ชัด ร่างพ.ร.บ.การจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ นี้ “เปิดช่องเอาไว้ในมาตรา ๒๘ ว่าการรับฟังความคิดเห็นที่ได้ทำไปแล้วก่อนหน้านี้ ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๘ ให้ถือเป็นการรับฟังที่ทำเสร็จไปแล้ว

และร่างกฎหมายที่ว่า ยังบอกว่า ร่างยุทธศาสตร์ชาติที่ได้จัดทำเอาไว้ก่อนแล้ว ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๘ ให้เอามาใช้เป็นหลักในการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติตัวจริง


ถ้าจะเอารัฐธรรมนูญฉบับ ๒๕๖๐ อันเป็น ไฮบริด(ขอยืมคำของ ดร.ปริญญา เทวานฤมิตกุล แห่งคณะนิติศาสตร์ มธ. ในการเสวนาเรื่อง ๘๕ ปีประชาธิปไตยไทยจะไปไหนดีมาใช้เป็นมาตรวัด) ยุทธศาสตร์ ๒๐ ปี คสช. จะ เขี้ยว สักแค่ไหน เหลือที่จะเดา

รัฐธรรมนูญนั้นวางหมากการเมืองการปกครองในอุ้งเท้า คสช. อย่างน้อย ๕ ปีเอาไว้เต็มที่แล้ว แม้ ดร.ปริญญาจะวิงวอนให้ “คสช.ปล่อยให้ ส.ว.ลงมติเลือกนายกฯ โดยอิสระ

และ “คืนความสุขให้ประชาชนโดยเร็วที่สุด” ทั้งอ้อนว่า “การจะอยู่ยาวไม่ใช่เรื่องที่ดีต่อใครทั้งสิ้น...เพราะทหารไม่ใช่คนกลางแล้ว แต่กลายเป็นคู่ขัดแย้ง” นั้น

ดร.ปริญญา (เพิ่ง) มาถึงบางอ้อว่าเป็นการ “เปลี่ยนบทบาทจากคนกลางมาควบคุมอำนาจ เหมือนกับที่เคยเกิดในช่วงพฤษภาทมิฬ ๓๕” ก็ตาม


คงได้แต่เดาเอาตามคำโตของ ตัวใหญ่หัวหน้า คสช. พูดไว้เมื่อ ๒๓ มิ.ย. นั่นละ ว่าเป็นโมเดล ไทยแลนด์ ๔.๐เศรษฐกิจดิจิทัล ลดความเหลื่อมล้ำ สร้างความเป็นธรรม กระจายรายได้ และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

อีกทั้ง “พวกเราทุกคนต้องใช้ศิลปะมากพอสมควร ต้องใช้หลักรัฐศาสตร์ร่วมกับหลักนิติศาสตร์ด้วย” ครบวงจรอะไรปานนั้น แต่ก็เนอะ วัดจากแบบบทหยดย้อยสามปีมานี่ คำพูดของพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ล้วนแต่รื่นเริงบันเทิง เอามันเสียละมาก

ที่บอกว่า “เราวางแผนงานถึงปี ๒๕๗๙ ด้วยวิสัยทัศน์ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” ของพวกทั่นนั้นน่ะ มันพิสูจน์มาแล้วหลายอย่าง โดยเฉพาะไอ้ที่อ้างเป็น “การลงทุนเพื่ออนาคต”

ดูตัวอย่างแค่เรื่องกองทัพบก “จัดซื้อเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไปทางธุรการและขนส่ง แบบ AW 139 (ฮ.ท.๑๓๙) จำนวน ลำ วงเงิน ๔๓,๕๔๘,๓๘๗.๑๐ เหรียญสหรัฐ หรือประมาณ ,๓๕๐ ล้านบาท โดยวิธีพิเศษจากบริษัท Agusta Westland ประเทศอิตาลี


ถึงจะเริ่มโครงการเมื่อปลายปี ๕๕ แต่ก็มาส่งมอบตอนปลายปี ๕๗ หลังรัฐประหาร แล้วปรากฏว่าฮอพันล้านทั้งสองลำ “ใช้งานได้เพียงปีเดียว” แล้วก็ “นำมาจอดเก็บไว้ที่โรงจัดเก็บของกรมขนส่งทหารบก” ตั้งแต่นั้นมา


ทำให้มองเห็นภาพถึงคราทั้งนายกฯ และรองฯ สองหน่อออกมาจ้อ ยุทธศาสตร์ชาติ ถือเป็นเรื่องใหญ่มาก “เป็นเรื่องที่รัฐบาลทุกรัฐบาลต้องเดินไปตามนั้น” บลา บลา บลา

นายกฯ พูดยืดยาวราวกับสอนค่านิยม ๑๒ ประการเด็กประถม นั่นละนะเขาว่า คนที่เข้าใจอะไรยาก มักพูดมากเสียเอง ดูได้จาก ไทยรัฐ


ไม่เท่านั้นทั่นรองฯ มาช่วยซ้ำ “ถ้าฝ่าฝืน ทำผิด หรือขัดแย้ง...ถึงขั้นติดคุกติดตะราง ต้องถอดถอนกัน”

อันนี้ไม่ได้ขู่ แค่พูดให้ฟังว่าความจริงยุค คสช. ถ่างขายาว ๒๐ ปี จะเป็นอย่างไร แม้จะมีคนทักว่าพวกที่ออกกฏเกณฑ์เหล่านี้ คงไม่ได้มีชีวิตอยู่ดูผลงานกันก็ตาม

“ส่วนเรื่องปฏิรูปจะเป็นอีกเรื่องหนึ่ง จะไม่มีซูเปอร์บอร์ดเหมือนกับยุทธศาสตร์ชาติ” แต่จะตั้งกรรมการปฏิรูปขึ้น ๑๑ คณะ ๑๑ ด้าน คณะละสิบกว่าคนมานั่งคิดสาระตะแทน สปท. ที่จะต้องสลายตัวไป

“แผนปฏิรูปจะยืดหยุ่น คล่องตัวกว่า ปรับเปลี่ยนอะไรกันได้ง่ายกว่า แต่ยุทธศาสตร์ชาตินั้นปรับได้ แต่ปรับยาก”


เพิ่งรู้ว่าทั่นรองฯ พูดกวนตนเป็นเหมือนกัน “ปรับได้แต่ปรับยาก” ไม่ยักเขียนให้ไม่ต้องปรับ น่าจะง่ายกว่า

อันว่ากฎหมายกำหนดให้จัดทำยุทธศาสตร์ชาติที่ สนช. สภาลิ่วล้อโหวตผ่านสองวาระสุดท้ายรวดเดียวใน ๓ ชั่วโมงนั้น พวกคณะกรรมการที่ คสช. ตั้ง ๓๔ คน (๑๗ คนมาจากพวกแม่ทัพนายกอง อีก ๑๗ คน คสช. ขออนุญาตตั้งเอง) จะต้องรีดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษรภายใน ๑๒๐ วัน

แล้วเสนอ ครม. อนุมัติเสร็จส่งให้ สนช. โหวตอีกครั้ง ซึ่งตอนนี้วงการโต๊ดให้แต้มต่อ ๑๐ เอา ๑ ว่าจะต้องผ่านด้วยความเร็วสูงกว่าเดิม เพื่อชิง กินเนส เร็คคอร์ด

ต่อประเด็นที่มีกังขาว่าเวลาแค่สี่เดือนจะเขียนกันทันเหรอ มีคนกลัวว่าคณะกรรมการร่างยุทธศาสตร์จะสุกเอาเผากิน เรื่องนั้นอย่าห่วง

เพราะดูเหมือนว่า คสช. เขาเตรียมพิมพ์เขียว “เขียนกันไว้แล้ว ตั้งแต่ “ก่อนที่รัฐธรรมนูญและกฎหมายจะผ่านด้วยซ้ำ”

ดังที่ ไอลอว์ชี้ชัด ร่างพ.ร.บ.การจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ นี้ “เปิดช่องเอาไว้ในมาตรา ๒๘ ว่าการรับฟังความคิดเห็นที่ได้ทำไปแล้วก่อนหน้านี้ ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๘ ให้ถือเป็นการรับฟังที่ทำเสร็จไปแล้ว

และร่างกฎหมายที่ว่า ยังบอกว่า ร่างยุทธศาสตร์ชาติที่ได้จัดทำเอาไว้ก่อนแล้ว ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๘ ให้เอามาใช้เป็นหลักในการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติตัวจริง


ถ้าจะเอารัฐธรรมนูญฉบับ ๒๕๖๐ อันเป็น ไฮบริด(ขอยืมคำของ ดร.ปริญญา เทวานฤมิตกุล แห่งคณะนิติศาสตร์ มธ. ในการเสวนาเรื่อง ๘๕ ปีประชาธิปไตยไทยจะไปไหนดีมาใช้เป็นมาตรวัด) ยุทธศาสตร์ ๒๐ ปี คสช. จะ เขี้ยว สักแค่ไหน เหลือที่จะเดา

รัฐธรรมนูญนั้นวางหมากการเมืองการปกครองในอุ้งเท้า คสช. อย่างน้อย ๕ ปีเอาไว้เต็มที่แล้ว แม้ ดร.ปริญญาจะวิงวอนให้ “คสช.ปล่อยให้ ส.ว.ลงมติเลือกนายกฯ โดยอิสระ

และ “คืนความสุขให้ประชาชนโดยเร็วที่สุด” ทั้งอ้อนว่า “การจะอยู่ยาวไม่ใช่เรื่องที่ดีต่อใครทั้งสิ้น...เพราะทหารไม่ใช่คนกลางแล้ว แต่กลายเป็นคู่ขัดแย้ง” นั้น

ดร.ปริญญา (เพิ่ง) มาถึงบางอ้อว่าเป็นการ “เปลี่ยนบทบาทจากคนกลางมาควบคุมอำนาจ เหมือนกับที่เคยเกิดในช่วงพฤษภาทมิฬ ๓๕” ก็ตาม


คงได้แต่เดาเอาตามคำโตของ ตัวใหญ่หัวหน้า คสช. พูดไว้เมื่อ ๒๓ มิ.ย. นั่นละ ว่าเป็นโมเดล ไทยแลนด์ ๔.๐เศรษฐกิจดิจิทัล ลดความเหลื่อมล้ำ สร้างความเป็นธรรม กระจายรายได้ และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

อีกทั้ง “พวกเราทุกคนต้องใช้ศิลปะมากพอสมควร ต้องใช้หลักรัฐศาสตร์ร่วมกับหลักนิติศาสตร์ด้วย” ครบวงจรอะไรปานนั้น แต่ก็เนอะ วัดจากแบบบทหยดย้อยสามปีมานี่ คำพูดของพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ล้วนแต่รื่นเริงบันเทิง เอามันเสียละมาก

ที่บอกว่า “เราวางแผนงานถึงปี ๒๕๗๙ ด้วยวิสัยทัศน์ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” ของพวกทั่นนั้นน่ะ มันพิสูจน์มาแล้วหลายอย่าง โดยเฉพาะไอ้ที่อ้างเป็น “การลงทุนเพื่ออนาคต”

ดูตัวอย่างแค่เรื่องกองทัพบก “จัดซื้อเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไปทางธุรการและขนส่ง แบบ AW 139 (ฮ.ท.๑๓๙) จำนวน ลำ วงเงิน ๔๓,๕๔๘,๓๘๗.๑๐ เหรียญสหรัฐ หรือประมาณ ,๓๕๐ ล้านบาท โดยวิธีพิเศษจากบริษัท Agusta Westland ประเทศอิตาลี


ถึงจะเริ่มโครงการเมื่อปลายปี ๕๕ แต่ก็มาส่งมอบตอนปลายปี ๕๗ หลังรัฐประหาร แล้วปรากฏว่าฮอพันล้านทั้งสองลำ “ใช้งานได้เพียงปีเดียว” แล้วก็ “นำมาจอดเก็บไว้ที่โรงจัดเก็บของกรมขนส่งทหารบก” ตั้งแต่นั้นมา

ทำให้มองเห็นภาพยุทธศาสตร์ชาติไทย ๔.๐ ภายใต้น้ำมือ ๑๗ แม่ทัพนายกอง กับ ๑๗ ลิ่วล้อ คสช. ตั้งเอง ถึงคราทั้งนายกฯ และรองฯ สองหน่อออกมาจ้อ ยุทธศาสตร์ชาติ ถือเป็นเรื่องใหญ่มาก “เป็นเรื่องที่รัฐบาลทุกรัฐบาลต้องเดินไปตามนั้น” บลา บลา บลา

นายกฯ พูดยืดยาวราวกับสอนค่านิยม ๑๒ ประการเด็กประถม นั่นละนะเขาว่า คนที่เข้าใจอะไรยาก มักพูดมากเสียเอง ดูได้จาก ไทยรัฐ


ไม่เท่านั้นทั่นรองฯ มาช่วยซ้ำ “ถ้าฝ่าฝืน ทำผิด หรือขัดแย้ง...ถึงขั้นติดคุกติดตะราง ต้องถอดถอนกัน”

อันนี้ไม่ได้ขู่ แค่พูดให้ฟังว่าความจริงยุค คสช. ถ่างขายาว ๒๐ ปี จะเป็นอย่างไร แม้จะมีคนทักว่าพวกที่ออกกฏเกณฑ์เหล่านี้ คงไม่ได้มีชีวิตอยู่ดูผลงานกันก็ตาม

“ส่วนเรื่องปฏิรูปจะเป็นอีกเรื่องหนึ่ง จะไม่มีซูเปอร์บอร์ดเหมือนกับยุทธศาสตร์ชาติ” แต่จะตั้งกรรมการปฏิรูปขึ้น ๑๑ คณะ ๑๑ ด้าน คณะละสิบกว่าคนมานั่งคิดสาระตะแทน สปท. ที่จะต้องสลายตัวไป

“แผนปฏิรูปจะยืดหยุ่น คล่องตัวกว่า ปรับเปลี่ยนอะไรกันได้ง่ายกว่า แต่ยุทธศาสตร์ชาตินั้นปรับได้ แต่ปรับยาก”


เพิ่งรู้ว่าทั่นรองฯ พูดกวนตนเป็นเหมือนกัน “ปรับได้แต่ปรับยาก” ไม่ยักเขียนให้ไม่ต้องปรับ น่าจะง่ายกว่า

อันว่ากฎหมายกำหนดให้จัดทำยุทธศาสตร์ชาติที่ สนช. สภาลิ่วล้อโหวตผ่านสองวาระสุดท้ายรวดเดียวใน ๓ ชั่วโมงนั้น พวกคณะกรรมการที่ คสช. ตั้ง ๓๔ คน (๑๗ คนมาจากพวกแม่ทัพนายกอง อีก ๑๗ คน คสช. ขออนุญาตตั้งเอง) จะต้องรีดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษรภายใน ๑๒๐ วัน

แล้วเสนอ ครม. อนุมัติเสร็จส่งให้ สนช. โหวตอีกครั้ง ซึ่งตอนนี้วงการโต๊ดให้แต้มต่อ ๑๐ เอา ๑ ว่าจะต้องผ่านด้วยความเร็วสูงกว่าเดิม เพื่อชิง กินเนส เร็คคอร์ด

ต่อประเด็นที่มีกังขาว่าเวลาแค่สี่เดือนจะเขียนกันทันเหรอ มีคนกลัวว่าคณะกรรมการร่างยุทธศาสตร์จะสุกเอาเผากิน เรื่องนั้นอย่าห่วง

เพราะดูเหมือนว่า คสช. เขาเตรียมพิมพ์เขียว “เขียนกันไว้แล้ว ตั้งแต่ “ก่อนที่รัฐธรรมนูญและกฎหมายจะผ่านด้วยซ้ำ”

ดังที่ ไอลอว์ชี้ชัด ร่างพ.ร.บ.การจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ นี้ “เปิดช่องเอาไว้ในมาตรา ๒๘ ว่าการรับฟังความคิดเห็นที่ได้ทำไปแล้วก่อนหน้านี้ ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๘ ให้ถือเป็นการรับฟังที่ทำเสร็จไปแล้ว

และร่างกฎหมายที่ว่า ยังบอกว่า ร่างยุทธศาสตร์ชาติที่ได้จัดทำเอาไว้ก่อนแล้ว ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๘ ให้เอามาใช้เป็นหลักในการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติตัวจริง


ถ้าจะเอารัฐธรรมนูญฉบับ ๒๕๖๐ อันเป็น ไฮบริด(ขอยืมคำของ ดร.ปริญญา เทวานฤมิตกุล แห่งคณะนิติศาสตร์ มธ. ในการเสวนาเรื่อง ๘๕ ปีประชาธิปไตยไทยจะไปไหนดีมาใช้เป็นมาตรวัด) ยุทธศาสตร์ ๒๐ ปี คสช. จะ เขี้ยว สักแค่ไหน เหลือที่จะเดา

รัฐธรรมนูญนั้นวางหมากการเมืองการปกครองในอุ้งเท้า คสช. อย่างน้อย ๕ ปีเอาไว้เต็มที่แล้ว แม้ ดร.ปริญญาจะวิงวอนให้ “คสช.ปล่อยให้ ส.ว.ลงมติเลือกนายกฯ โดยอิสระ

และ “คืนความสุขให้ประชาชนโดยเร็วที่สุด” ทั้งอ้อนว่า “การจะอยู่ยาวไม่ใช่เรื่องที่ดีต่อใครทั้งสิ้น...เพราะทหารไม่ใช่คนกลางแล้ว แต่กลายเป็นคู่ขัดแย้ง” นั้น

ดร.ปริญญา (เพิ่ง) มาถึงบางอ้อว่าเป็นการ “เปลี่ยนบทบาทจากคนกลางมาควบคุมอำนาจ เหมือนกับที่เคยเกิดในช่วงพฤษภาทมิฬ ๓๕” ก็ตาม


คงได้แต่เดาเอาตามคำโตของ ตัวใหญ่หัวหน้า คสช. พูดไว้เมื่อ ๒๓ มิ.ย. นั่นละ ว่าเป็นโมเดล ไทยแลนด์ ๔.๐เศรษฐกิจดิจิทัล ลดความเหลื่อมล้ำ สร้างความเป็นธรรม กระจายรายได้ และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

อีกทั้ง “พวกเราทุกคนต้องใช้ศิลปะมากพอสมควร ต้องใช้หลักรัฐศาสตร์ร่วมกับหลักนิติศาสตร์ด้วย” ครบวงจรอะไรปานนั้น แต่ก็เนอะ วัดจากแบบบทหยดย้อยสามปีมานี่ คำพูดของพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ล้วนแต่รื่นเริงบันเทิง เอามันเสียละมาก

ที่บอกว่า “เราวางแผนงานถึงปี ๒๕๗๙ ด้วยวิสัยทัศน์ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” ของพวกทั่นนั้นน่ะ มันพิสูจน์มาแล้วหลายอย่าง โดยเฉพาะไอ้ที่อ้างเป็น “การลงทุนเพื่ออนาคต”

ดูตัวอย่างแค่เรื่องกองทัพบก “จัดซื้อเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไปทางธุรการและขนส่ง แบบ AW 139 (ฮ.ท.๑๓๙) จำนวน ลำ วงเงิน ๔๓,๕๔๘,๓๘๗.๑๐ เหรียญสหรัฐ หรือประมาณ ,๓๕๐ ล้านบาท โดยวิธีพิเศษจากบริษัท Agusta Westland ประเทศอิตาลี


ถึงจะเริ่มโครงการเมื่อปลายปี ๕๕ แต่ก็มาส่งมอบตอนปลายปี ๕๗ หลังรัฐประหาร แล้วปรากฏว่าฮอพันล้านทั้งสองลำ “ใช้งานได้เพียงปีเดียว” แล้วก็ “นำมาจอดเก็บไว้ที่โรงจัดเก็บของกรมขนส่งทหารบก” ตั้งแต่นั้นมา

ทำให้มองเห็นภาพยุทธศาสตร์ชาติไทย ๔.๐ ภายใต้น้ำมือ ๑๗ แม่ทัพนายกอง กับ ๑๗ ลิ่วล้อ คสช. ตั้งเอง คงซื้อแหลกเพื่อเอาไว้มา “จัดเก็บ” แหงๆ